วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Teaching 15th.

Teaching 15th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
December 4,2014
Time 08.30-12.20pm.

(Knowledge)
     วันนี้อาจารย์สอนวิธีการทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ผู้ปกครองโดยมีเนื้อหาข้อมูลในแผ่นพับดังนี้
     - หน้าปกจะประกอบไปด้วย ชื่อโรงเรียน ตราโรงเรียน ชื่อหน่วยที่จะเรียน ชื่อเด็กนักเรียน และชื่อคุณครูผู้สอน
     - เรื่องที่เราจะประชาสัมพันธ์บอกให้ผู้ปกครองของเด็กได้ทราบถึงความเป็นมา วัตถุประสงค์ ความสำคัญของหน่วยที่จะสอน
     - บรรยายสาระที่ควรเรียนรู้ในหน่วยนั้นๆ
     - เพลง คำคล้องจอง หรือนิทาน ที่เกี่ยวกับหน่วยที่จะสอน
     - เกมให้ผู้ปกครองและเด็กช่วยกันเล่น จะต้องสอดคล้องกับชื่อหน่วยและวิทยาศาสตร์ด้วย
     - ชื่อสมาชิกในกลุ่ม

Knowledge apply
     - สามารถนำวิธีการทำแผ่นพับไปใช้ในการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองทราบ
 
Teaching methods
     - ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นความคิดของนักศึกษา
   
Assessment after learning
     Myself80%
     Friends95%
     Professor95%

ภาพเคลื่อนไหวน่ารัก ๆ

Teaching 14th.

Teaching 14th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
November 27,2014
Time 08.30-12.20pm.

(Research)

(Media sciences)

Knowledge apply
     - นำข้อมูลในวิจัยของเพื่อนไปปรับใช้เป็นแนวทางในการสอนได้
     - ย้อนดูโทรทัศน์ครูที่เพื่อนออกมานำเสนอแล้วใช้เป็นแนวทางในการสอนเด็กในเรื่องของวิทยาศาสตร์ได้
   
Teaching methods
     - ฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเอง
     - ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นความคิด
     - ใช้เทคโนโลยีต่างๆในการหาข้อมูลการศึกษาในชั้นเรียน
     - ให้ข้อมูลเพิ่มเติมกับวิจัยและโทรทัศน์ครูที่เพื่อนออกไปนำเสนอ

Assessment after learning
     Myself 85%
     Friends 95%
     Professor 90%

Teaching 13th.

Teaching 13th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
November 20,2014
Time 08.30-12.20pm.

(Research)


     *วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนเอาของเล่นวิทยาศาสตร์มาจัดแยกหมวดหมู่โดยจัดแยกได้โดยแผนผังดังนี้
The knowledge gained(Mind map)



Activity
(ทำขนมWaffle)


     Material
        1.แป้งวาฟเฟิล
        2.เนย
        3.ไข่
        4.น้ำเปล่า
        5.ถ้วย
        6.ช้อน
        7.เครื่องทำวาฟเฟิล
        8.เนยมาการีน
     How to
        1.นำแป้งวาฟเฟิล เนย ไข่ ใส่ลงไปในถ้วยผสมให้เข้ากัน
        2.ค่อยๆเติมน้ำลงไปเรื่อยๆ
        3.คนส่วนผสมทั้งหมดให้เป็นเนื้อเดียวกัน ไม่ให้เหลว หรือ ข้นจนเกินไป
        4.ทาเนยมาการีนตรงที่แม่พิมพ์วาฟเฟิล
        5.เทแป้งที่ผสมไว้ใส่ลงไป ทิ้งไว้สักครู่ แล้วตักใส่จาน

Knowledge apply
     - นำวิธีการทำวาฟเฟิลไปใช้ในการสอนเด็ก
     - นำวิธีการแบ่งกลุ่มของอาจารย์ใช้เป็นแนวทางในการแบ่งกลุ่มให้เด็กได้
     - นำข้อมูลในวิจัยของเพื่อนไปปรับใช้ในการสอนได้

Teaching methods
     - เรียนรู้โดยการลงมือกระทำด้วยตนเอง
     - ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นความคิดของนักศึกษา
     - ได้ใช้ทักษะการสังเกตุ
     - เรียนรู้โดยผ่านการปฏิบัติจริง

Assessment after learning
     Myself 95%
     Friends 95%
     Professor 100%

ภาพเคลื่อนไหวน่ารัก ๆ

Teaching 12th.

Teaching 12th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
November 6,2014
Time 08.30-12.20pm.

วันนี้ดิฉันไม่ได้เข้าเรียนเนื่องจากมีธุระต้องกลับบ้านที่ต่างจังหวัด จึงไม่สามารถมาเรียนได้

Teaching 11th.

Teaching 11th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
October 30,2014
Time 08.30-12.20pm.

Experiment with science
     วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ โดยให้นักศึกษาทุกคนลงมือกระทำด้วยตนเอง

     Activity 1
การจมการลอย ( The sinking of floating )


     How to
        1.ปั้นดินน้ำมันเป็นรูปวงกลม
        2.นำดินน้ำมันที่ปั้น ไปหย่อนลงในน้ำ ผลปรากฎว่าดินน้ำมันจมน้ำ
     How to again
        1.ปั้นดินน้ำมันตามแบบที่เราคิดว่าจะลอยน้ำ ดิฉันปั้นแบนๆ
        2.นำดินน้ำมันที่ปั้น ไปหย่อนลงในน้ำ ผลปรากฎว่าดินน้ำมันจมน้ำ
     *ส่วนเพื่อนคนที่ปั้นดินน้ำมันเป็นรูปทรงคล้ายๆเรือ ดินน้ำมันก็จะลอย เหตุที่ดินน้ำมันลอยน้ำก็เพราะว่าดินน้ำมันมีความหนาแน่นน้อยลง

 Activity 2
ดอกไม้บาน ( Flower bloom )


     How to
        1.ตัดกระดาษเป็นรูปดอกไม้
        2.ตกแต่งให้สวยงาม
        3.ม้วนกลีบดอกไม้เข้าหากันทุกกลีบ
        4.นำดอกไม้วางลงบนน้ำ
     *สังเกตุความแตกต่างระหว่างดอกไม้จากกระดาษบาง และดอกไม้จากกระดาษหนา
     *ผลปรากฎว่ากระดาษบางจมน้ำเร็วกว่ากระดาษหนา เนื่องจากน้ำซึมเข้าเยื่อกระดาษบางเร็วกว่าทำให้จมน้ำก่อน

 Activity 3
แรงดันน้ำ ( Water pressure )


     How to
        1.นำขวดมาเจาะรู 3 ระดับ ( บน กลาง ล่าง ) 
        2.ปิดรูขวดที่เจาะไว้ด้วยเทปกาว
        3.นำน้ำใส่ลงไปในขวดให้เต็ม
     *อาจารย์ตั้งคำถามกับนักศึกษาว่าถ้าดึงเทปกาวออก น้ำตรงส่วนใดจะออกแรงที่สุด
     *ผลปรากฎว่ารูล่างมีน้ำไหลแรงที่สุด เนื่องจากมีแรงดันเยอะที่สุด


Activity 4
แก้วดับเทียน


     Material
        1.เทียนไข
        2.แก้วน้ำ
        3.ไม่ขีด
     how to
        1.จุดเขียนไขด้วยไม้ขีด วางให้เทียนไขอยู่ติดกับพื้น
        2.น้ำแก้วน้ำครอบเทียนไขที่จุดไฟไว้
     *ผลปรากฎว่าไฟบนเทียนไขค่อยๆดับลงช้าๆ เนื่องจากข้างในไม่มีอากาศ
        
Knowledge apply
     - นำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ ที่ได้ทำการทดลอง ไปใช้ในการสอนเด็กในเรื่องของวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
     - นำความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการจัดกิจกรรมอื่นๆ

Teaching methods
     - เรียนรู้โดยการลงมือกระทำด้วยตนเอง
     - สอนโดยผ่านการปฏิบัติจริง
     - ให้เด็กเกิดทักษะการสังเกตุ
     - ตั้งคำถามโดยใช้คำถามปลายเปิด

Assessment after learning
     Myself 95% แต่งกายถูกระเบียบเรียบร้อย ให้ความสนใจในขณะทำกิจกรรมการทดลองเป็นอย่างดี
     Friends 95% เพื่อนๆทุกคนให้ความสนใจในขณะทำกิจกรรมการทดลองทุกคน อาจมีคุยกันบ้าง แต่ก็คุยในเนื้อหาการเรียน
     Professor 100% วันนี้อาจารย์จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมการทดลองเป็นอย่างดี มีการนำกิจกรรมมาให้นักศึกษาได้ทดลองอย่างน่าสนใจ

ภาพเคลื่อนไหวน่ารัก ๆ

วันอังคารที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Teaching 10th.

Teaching 10th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
October 18,2014
Time 08.30-12.20pm.

สอนชดเชยของวันที่ 23 ตุลาคม ( วันปิยะมหาราช )

The knowledge gained
     วันนี้อาจารย์สอนเขียนแผนการสอนเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยกลุ่มของดิฉันเลือกทำหน่วย มะพร้าว และหน่วยของเพื่อนกลุ่มอื่นๆมีดังนี้
     - หน่วยกล้วย
     - หน่วยข้าว
     - หน่วยนม
     - หน่วยกบ
     - หน่วยผลไม้
     - หน่วยน้ำ
     - หน่วยต้นไม้
     - หน่วยไก่

หน่วย มะพร้าว (coconut)


   
Knowledge apply
     - นำขั้นตอนการเขียนแผนการสอนที่ถูกต้อง สมบูรณ์เพื่อใช้เป็นแนวในการจัดการเรียนการสอนให้กับเด็ก
     - เขียนแผนการสอนเพื่อให้สอดคล้องกับการบูรณาการในวิชาอื่นๆ
     - เขียนแผนการสอนเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
   
Teaching methods
     - อธิบายวิธีการเขียนแผนการสอนที่ถูกวิธี
     - ให้เด็กได้ใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์
     - ใช้คำถามปลายเปิด เพื่อกระตุ้นความคิดของเด็ก
     - ให้เทคโนโลยีในการสอน
     - ให้นักศึกษานั่งกันเป็นกลุ่ม เพื่อง่ายต่อการอธิบายแผนจากอาจารย์

Assessment after learning
     Myself 90% เข้าเรียนสาย แต่งกายถูกระเบียบเรียนร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอน
     Friends 90% เนื่องจากวันนี้เป็นวันหยุดที่อาจารย์นัดมาเรียนชดเชย จึงมีเพื่อนๆประมาณ 15% จากคนทั้งห้องไม่ได้เข้าเรียน ส่วนเพื่อนในกลุ่มที่เข้าเรียนก็ตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี
     Professor 95%  อาจารย์สอนเข้าใจดีคะ


Teaching 9th.

Teaching 9th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
October 16,2014
Time 08.30-12.20pm.

วันนี้ดิฉันไม่ได้เข้าเรียน เนื่องจากเป็นไข้ไม่สบายจึงไม่สามารถมาเรียนได้
จึงได้นำข้อมูลการเรียนการสอนของวันนี้มาจาก นางสาวนิลาวัลย์ ตระกูลเจริญ


 ความรู้ที่ได้รับ
                วันนี้อาจารย์ให้ทำของเล่นทางวิทยาศาสตร์มานำเสนอเพื่อนๆ ในห้องและพูดถึงหลังวิทยาศาสตร์ ซึ่งความรู้ที่ได้จากของเล่นทางวิทยาศาสตร์ของเพื่อนๆ ทำให้รู้อะไรได้อย่างๆ อย่างทั้งของเล่นเก่าที่เคยเล่นมา หรือของเล่นใหม่ที่ไม่เคยเห็นมาก่อน

    ตัวอย่าง สื่อที่เพื่อนนำมาเสนอ
           1.  ไก่กระต๊าก                >  การสั่นสะเทือน
           2.  ขวดผิวปาก               >  ใช้แรงลมทำให้เกิดเสียง
           3.  กระป๋องโยกเยก         >  แรงโน้มถ่วง
           4.  กังหันลม                  >  พลังงานลมทำให้เกิดการหมุนของกังหัน
           5.  สปิงเกอร์                  >  แรงดันน้ำ
           6.  หลอดหมุนได้            >  แรงลมทำให้หลอดหมุนได้
           7.  ตุ๊กตาล้มลุก              >  จุดศูนย์ถ่วง
           8.  น้ำเปลี่ยนสี               >  กลวิทยาศาสตร์ เกิดจากการแทนที่ของน้ำทำให้น้ำที่มีอยู่ไหล
                                                 ออกมา    
           9.  แมงกะพรุน               >  สิ่งของในน้ำมีความหนาแน่น มากและน้อย
         10.  เครื่องร่อน                >  แรงลม
เทคนิควิธีการสอนของอาจารย์
        -  อาจารย์ใช้สิ่งประดิษฐ์มาเป็นสื่อในการสอน




Teaching 8th.

Teaching 8th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
October 9,2014
Time 08.30-12.20pm.

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นสัปดาห์ของการสอบ midterm 
ของภาคเรียนที่ 1/2557






Teaching 7th.

Teaching 7th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
October 2,2014
Time 08.30-12.20pm.

(Science articles)
บทความที่เพื่อนออกไปนำเสนอ


Scientific Invention(climb-up climb-down)
Material
     1.tissue cores
     2.yarn
     3.paper
     4.glue
     5.scissors
     6.craft punch
How to
     1. นำแกนทิชชู่มาตัดครึ่ง แกนทิชชู่หนึ่งอัน ใช้ได้สองคน
     2. เจาะรูตรงกลางของทิชชู่ทั้งสองข้าง
     3. นำกระดาษที่เตรียมไว้ตัดเป็นรูปวงกลมให้พอดีกับแกนทิชชู่
     4. นำไหมพรมมาร้อยตรงรูที่เจาะไว้ ทั้งสองข้าง มัดปมให้เรียบร้อย
     5.วางรูปตามใจชอบลงบนกระดาษที่ตัดไว้ ให้สวยงาม แล้วทากาวติดลงบนแกนทิชชู่
How to play
     นำเชือกมาคล้องที่คอ แล้วลองดึงเชือก ขึ้น-ลง 

Knowledge apply
     - นำสือทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กสามารถประดิษฐ์ได้เอง และเข้าใจวิธีการใช้สื่อชิ้นนั้น มาประยุกต์ใช้ในการสอนเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กได้
     - นำความรู้ที่ได้จากการนำเสนอบทความของเพื่อนๆ ไปประยุกต์ใช้ในการสอนกับเด็กได้ 

Teaching methods
     - เรียนรู้ผ่านการลงมือกระทำด้วยตนเอง
     - ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นความคิดของนักศึกษา
     - สอนโดยผ่านการปฏิบัติจริง
     - ให้นักศึกษานั่งเรียนตามเลขที่ ทำให้เด็กคุยกันน้อยลง
     - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสอน

Assessment after learning
     Myself 90% วันนี้ตั้งใจเรียนมาก เพราะอาจารย์ให้นั่งตามเลขที่ เลยได้นั่งหน้า ช่วยเพื่อนๆตอบคำถามดี เรียนเข้าใจมากกว่าเดิมคะ
     Friends 95% เพื่อนๆคุยกันน้อย แต่งกายถูกระเบียบทุกคน ตั้งใจฟังอาจารย์สอน ช่วยกันตอบคำถามเยอะกว่าทุกครั้ง
     Professor 95% มีกิจกรรมให้นักศึกษาทำ ทำให้การเรียนไม่น่าเบื่อเมื่อนั่งเรียนคนเดียว ใช้คำถามเยอะดีคะ



วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Teaching 6th.

Teaching 6th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
September 25,2014
Time 08.30-12.20pm.

(Science articles)
บทความที่เพื่อนออกไปนำเสนอ
The knowledge gained(Mind map)



Scientific Invention(paper helicopter)
Material
     1.paper
     2.scissors
     3.paperclip
How to
     1.ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
     2.พับครึ่งของกระดาษ
     3.ตัดปลายกระดาษจนถึงกลางกระดาษที่พับไว้
     4.พับกระดาษฝั่งตรงข้ามเข้ามาเล็กน้อย
     5.ติดคลิปตรงกระดาษที่พับเมื่อครู่
     6.ตกแต่งให้สวยงาม

Unit plan of friends












My Unit plan 



Knowledge apply
     - การหาสื่อวิทยาศาสตร์ที่ง่ายๆที่เด็กสามารถทำได้มาจัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้และลงมือกระทำด้วยตัวเอง
     - ส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการของเด็กให้เด็กได้คิดและใช้จินตนาการอย่างสร้างสรรค์
     - นำความรู้ที่ได้จากบทความมาสอดเเทรกในเนื้อหาของการเรียนการสอนให้กับเด็กอย่างเหมาะสม
     - เรียนรู้การเขียน Mind map ที่ถูกวิธีและการวางเเผนการสอนที่เราสามารถนำไปใช้ในอนาคตได้
Teaching methods
     - เรียนรู้ด้วยการลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
     - ทักษะการใช้คำถามปลายเปิด และร่วมกันแสดงความคิดเห็น
     - หากิจกรรมง่ายๆที่เด็กลงมือกระทำได้ ผ่านการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
     - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน
Assessment after learning
     Myself 85% แต่งกายเรียนร้อย ตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์มอบหมายให้ทำ
     Friends 95% ตั้งใจเรียนกันทุกคน ต่างให้ความสนใจในกิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำ
     Professor 95% ตั้งใจสอน ให้ความรู้มากมาย มีกิจกรรมให้ทำ ทำให้การเรียนไม่น่าเบื่อ



สรุปเรื่องอากาศ

อากาศ

water_cycle.jpg

อากาศคืออะไร

     อากาศอยู่รอบตัวเราเสมอ เราสามารถรู้ว่ามีอากาศอยู่รอบๆตัวเราได้โดยโบกมือไปมา กระแสลมที่เกิดขึ้นและปะทะกับฝ่ามือของเรา ก็แสดงว่าอากาศมีจริง หรือถ้าเรายืนอยู่ในที่ที่มีลมพัดผ่าน เราจะรู้สึกว่ามีอากาศหรือลมพัดมาถูกตัวเรา แรงลมสามารถทำให้เกิดคลื่นน้ำ หรือหมุนกังหันลมได้

ส่วนประกอบของอากาศ
     ส่วนผสมของก๊าซต่างๆและไอน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่ ก๊าซไนโตรเจน ก๊าซออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และโอโซน อากาศมีอยู่รอบๆตัวเราทุกหนทุกแห่ง ทั้งบนยอดสูงสุดของภูเขาและในที่จอดรถใต้ดิน อากาศมีอยู่ในบ้าน มีอยู่ในโรงเรียนและในรถยนต์ อากาศไม่มีสี ไม่มีรสชาติ และไม่มีกลิ่น
     ไนโตรเจนเป็นก๊าซที่มีมากที่สุด ประมาณ 78% ก๊าซที่มีปริมาณรองลงมาคือ ก๊าซออกซิเจน ประมาณ 21% เป็นก๊าซที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต ส่วนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และโอโซนมีปริมาณน้อยมาก

Experiments air samples






Teaching 5th.

Teaching 5th.
Subject : Science experiences management for early childhood
Professor Jintana Suksamran
September 18,2014
Time 08.30-12.20pm.

(Science articles)
บทความที่เพื่อนออกไปนำเสนอ
The knowledge gained (Mind map)



Scientific Invention
Material
1.scissors
2.paper
3.glue
4.meatball skewers 
5.scotch tape
6.color
How to
1.ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
2.พับครึ่ง แล้ววาดรูปภาพทั้งสองด้าน เป็นรูปอะไรก็ได้ที่มีความสัมพันธ์กัน
3.เอาไม้เสียบลูกชิ้นสอดเข้าไป และติดเทปกาวให้แน่น
4.เป็นอันเสร็จสิ้น ทดลองโดยการหมุนไม้เร็วๆ
Knowledge apply
     - สามารถใช้ในการสอนเด็กได้เพื่อสอดคล้องกับการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
     - เพื่อที่เด็กจะได้เรียนรู้ผ่านการกระทำ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
     - การทำกิจกรรมจะทำให้เด็กสนใจที่จะเรียนรู้มากขึ้น
Teaching methods
     - ทักษะการใช้คำถาม และร่วมกันแสดงความคิดเห็น
     - ทักษะการใช้เทคโนโลยี
     - ทักษะการสังเกต
Assessment after learning
     Myself 90% เข้าเรียนสาย แต่งกายถูกระเบียบ ช่วยเพื่อนตอบคำถามบ้างบางข้อ
     Friends 95%ตั้งใจกันเรียนดี
     Professor 95% วันนี้อาจารย์สอนน่าสนใจ เพราะมีกิจกรรมให้นักศึกษาทำ มีการใช้คำถามเยอะดี


สรุป VDO เรื่องความลับของแสง

ความลับของแสง


          แสงคือคลื่นชนิดหนึ่งเหมือนกับคลื่นของน้ำทะเลมีความยาวของแสงสั้นมากและในขณะเดียวกันก็มีคลื่นที่เร็วมาก 300,000  ก.ม ต่อวินาที  และแสงมีความสำคัญมากกับการดำเนินชีวิตของคน พืช และสัตว์ ถ้าเกิดเราอยู่ในที่มืดแล้วจู่ๆก็เกิดแสงสว่างขึ้นมา เราจะเกิดอาการแสบตา  เพราะเกิดจากการปรับตัวกับแสงสว่างไม่ทัน  การเปลี่ยนแปลงปริมาณแสงเร็วเกินไป
          สาเหตุที่เราสามารถมองเห็นวัตถุได้นั้น ก็เพราะว่า แสงส่องมาโดนวัตถุแล้วก็สะท้อนจากวัตถุเข้ามาสู่ตาของเรา   

          วัตถุบนโลกมีทั้งหมด 3 แบบ
          1.วัตถุโปร่งแสง  คือ แสงทะลุผ่านไปได้บางส่วน มองเห็นไม่ชัด
          3.วัตถุโปร่งแสง คือแสงผ่านไปปได้ทั้งหมด สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
          4.วัตถุทึบแสง    คือ ดูดกลืนแสงบางส่วนไว้แล้วสะท้อนส่วนที่เหลือเข้าตาเรา

          ในหลักการสะท้อนของแสง เมื่อแสงสะท้อนจากวัตถุจะพุ่งไปทางทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของแสงที่สองลงมาตลอดเวลา เช่นเดียวกับการสองกระจก มักจะกลับข้างกับตัวเราเสมอ เหมือนกับการที่เราใส่นาฬิกาข้างขวา แต่เมื่อเราส่องกระจกก็จะกลายเป็นนาฬิกาข้างซ้าย เป็นต้น
                  ตา  ของเรานั้นมีรูเล็กๆ  เรียกว่า รูรับแสง เมื่อผ่านรูรับแสงก็จะกลับหัว แต่ที่เราเห็นภาพเป็นปกตินั้น เพราะว่าสมองกลับภาพเป็นปกติโดยอัตโนมัตินั้นเอง
                  การหักเหของแสง   เกิดขึ้นเพราะแสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางคนละชนิดกัน  เช่น เมื่อแสงเดินทางผ่านอากาศเข้าสู่ตู้กระจกที่มีน้ำ  น้ำนั้นจะมีความหนาแน่นกว่าอากาศ ทำให้แสงเคลื่อนไปได้ช้ากว่าในอากาศ เส้นทางการเดินของแสงจึงหักเหไปด้วย จากนั้นเมื่อแสงพุ่งจากน้ำเข้าสู่อากาศ แสงก็จะเคลื่อนที่ได้เร็ว เส้นทางการเดินเคลื่อนที่ของแสงจึงกลับมาเป็นเหมือนเดิม
                   เงา  เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับแสง เกิดขึ้นได้เพราะแสง ป็นหลักธรรมชาติคือเงาของวัตถุทีี่จะเกิดขึ้นจากแสงที่เดินทางเป็นเส้นตรงไปเรื่อยๆ เมื่อมีวัตถุเข้ามาขวางทางเดินของแสงไว้ พื้นที่ด้านหน้าของวัตถุ แสงส่องไปไม่ถึงเลยไม่มีการสะท้อนเกิดขึ้น จึงเกิดเป็นพื้นที่สีดำๆ  ก็คือเงา  นั่นเอง